เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบแผ่น มีเเนวทางติดตั้งอย่างไร

          เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบแผ่น (Plate Heat Exchanger) มักใช้งานในอุตสาหกรรมต่างๆ อาทิเช่น อุตสาหกรรมน้ำมัน อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมเคมี เป็นต้น โดยเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบแผ่น เป็นตัวแลกเปลี่ยนความร้อนชนิดหนึ่งที่ใช้แผ่นโลหะในการถ่ายเทความร้อนระหว่างของเหลวสองชนิด มีข้อดี คือ สามารถถ่ายเทความร้อนได้ดีกว่าเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนชนิดอื่นๆ เนื่องจากของเหลวจะสัมผัสกับพื้นผิวที่ใหญ่กว่ามาก ของเหลวมีการกระจายไปทั่วแผ่น ช่วยเพิ่มความเร็วของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิเป็นอย่างมาก

 

 

 

 

 

เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบแผ่น

 

 

 

 

 

การติดตั้งเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบแผ่น อย่างมืออาชีพ

 

 

         ระบบทำความร้อนจะทำหน้าที่แยกตัวกลางของไหลสองชนิด และในขณะเดียวกันยังทำหน้าที่ถ่ายโอนความร้อนจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง จะเกิดผ่านผนังท่อโดยของไหลทั้งสองชนิดจะไม่เกิดการผสมกัน ซึ่งเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนมีอยู่หลากหลายประเภทขึ้นอยู่กับการใช้งานและวัตถุประสงค์

 

 

        ก่อนติดตั้งใช้งานทุกครั้ง ขั้นเเรกควรมีการตรวจสอบว่าเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนมีจุดชำรุดหรือมุมบิดเบี้ยวตรงไหนบ้าง เเละควรติดตั้งด้วยความระมัดระวัง เเละควรเผื่อให้มีพื้นที่รอบๆ สำหรับการซ่อมบำรุง นอกจากนี้ ควรหมั่นทำความสะอาดท่อที่เชื่อมกับเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการอุดตันที่ตัวแลกเปลี่ยนความร้อน เเละควรมีการทดสอบเเรงดันน้ำของตัวเครื่องเพื่อการใช้งานที่มีประสิทธิภาพ

 

 

        แต่ทั้งนี้ การติดตั้งเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนเเบบเเผ่นก็ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้และประสบการณ์ พร้อมกับเครื่องมือที่มีคุณภาพเพื่อให้การใช้งานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด จำหน่ายเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน และเป็นไปอย่างคุ้มค่า ซึ่ง บริษัท วาซเซอร์เท็ค จำกัด พร้อมให้บริการติดตั้งเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน สำหรับใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร บริการเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน ในราคาที่ประหยัดและคุ้มค่า

 

 

 

 

 

เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบแผ่น  

 

 

 

 

 

        บริษัท วาซเซอร์เท็ค จำกัด บริการติดตั้งเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน Heat Exchangers ผลิตชิ้นงานตามแบบ รับออกเเบบงานด้านวิศวกรรมระบบท่ออุตสาหกรรม โดยทีมวิศวกรที่มีประสบการณ์และความชำนาญโดยตรง เเละยังจำหน่ายอุปกรณ์สแตนเลส AISI304-316L สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่ม นม น้ำผลไม้ ยา เวชภัณฑ์เครื่องสำอาง ของเหลวทุกชนิด และอุปกรณ์อื่นๆ อาทิเช่น เครื่องจัดเรียงสินค้า, เครื่องปิดฉลาก, เครื่องติดฉลาก, เครื่องล้างขวด, ปั๊มที่ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร, ปั๊มโรตารี่แบบสว่าน, โมโนปั๊ม, เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน, อุปกรณ์ถัง, ปะเก็นแผ่นความร้อน เป็นต้น  

 

 

 

 

 

สามารถติดต่อได้ที่

 

 

https://wassertech.brandexdirectory.com

 

 

https://www.wassertech.net

 

 

https://www.เพลทฮีตปั๊มวาล์วเครื่องบรรจุ.com  

 

 

 

 

 

------------------------------------------------------

 

 

บทความที่เกี่ยวข้อง

 

 

เครื่องแพ็คสูญญากาศ ตัวช่วยในการยืดอายุเก็บรักษาอาหาร

 

 

Rotary Lobe Pump ปั๊มสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร

 

 

ลักษณะการใช้งานเครื่องซีลสายพานแบบต่อเนื่อง

บริการติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียในโรงงาน

เอเชี่ยนเทค อุตสาหกรรม à¸œà¸¹à¹‰à¹€à¸Šà¸µà¹ˆà¸¢à¸§à¸Šà¸²à¸à¸”้านการติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียในโรงงาน

 

ระบบบำบัดน้ำเสียในโรงงาน

 

 

จัดการระบบบำบัดน้ำเสียในโรงงานอย่างไร ให้มีประสิทธิภาพ


       à¸à¸²à¸£à¸à¸³à¸ˆà¸±à¸”สิ่งปนเปื้อนในน้ำเสียด้วยระบบบำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม เกิดจากน้ำที่มีสารเคมีเจือปน และกากตะกอนต่าง ๆ ในปริมาณสูงจนเป็นน้ำที่ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่น ๆ ไม่สามารถปล่อยลงท่อระบายน้ำ หรือแหล่งน้ำได้ เพราะจะทำให้เกิดปัญหาน้ำเสีย จนกลายเป็นมลพิษต่อผู้คนที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียง และเป็นผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยเหตุนี้โรงงานอุตสาหกรรมจึงจำเป็นต้องมีระบบบำบัดน้ำเสีย ในโรงงานเพื่อกำจัดสิ่งปนเปื้อนในน้ำที่เกิดจากกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม โดยจำเป็นต้องอาศัยกรรมวิธีการบำบัดให้มีประสิทธิภาพ ดังนี้

1. การกำจัดของแข็งที่มีขนาดใหญ่ออกจากน้ำเสีย ก่อนที่จะมีการปล่อยเข้าสู่ระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อป้องกันการอุดตันของท่อน้ำและไม่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่เครื่องสูบน้ำ เช่น

• à¸à¸²à¸£à¸”ักด้วยตะแกรง การกำจัดของแข็งที่มีขนาดใหญ่โดยการใช้ตะแกรงในการกรอง
• à¸à¸²à¸£à¸šà¸”ตัด เพื่อลดขนาดหรือปริมาตรของแข็งให้มีขนาดเล็กลงผ่านเครื่องบดตัดเพื่อทำการบดตัดให้ละเอียดก่อนที่จะแยกไปสู่ถังตกตะกอน
• à¸à¸²à¸£à¸à¸³à¸ˆà¸±à¸”ไขมันและน้ำมัน การกักน้ำเสียไว้ในบ่อดักไขมันในช่วงเวลาหนึ่งเพื่อให้น้ำมันและไขมันลอยตัวขึ้นสู่ผิวน้ำ


2.การกำจัดน้ำเสียที่เป็นพวกสารอินทรีย์อยู่ในรูปของสารละลาย อาศัยแบคทีเรียในการย่อยสลายหรือทำลายความสกปรกในน้ำเสีย ด้วยกระบวนการชีววิทยา

• à¹à¸šà¸šà¹ƒà¸Šà¹‰à¸­à¸­à¸à¸‹à¸´à¹€à¸ˆà¸™ เพิ่มออกซิเจนเข้าไปในน้ำเสียและจะต้อง มีปริมาณออกซิเจนที่พอเพียงซึ่งจะทำให้น้ำเสียไม่เน่าเหม็น
• à¹à¸šà¸šà¹„ร้ออกซิเจน โดยอาศัยแบคทีเรียไม่ใช้อากาศในการย่อยสลายสารอินทรีย์ที่เจือปนอยู่


       à¸ˆà¸°à¹€à¸«à¹‡à¸™à¹„ด้ว่าระบบบำบัดน้ำเสียในโรงงานอุตสาหกรรม หรือ ระบบบำบัดน้ำเสียอาคารเป็นการบำบัดน้ำเสียหรือกำจัดสารมลทินที่ปนเปื้อนมากับน้ำที่ใช้งานมาแล้ว การติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียในโรงงานจึงเป็นที่นิยมในการติดตั้งเป็นอย่างมาก ซึ่งชนิดของน้ำเสียแต่ละประเภทจะมีการแตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับกระบวนการที่ใช้น้ำแต่ละโรงงานหรือตามบ้านเรือน การแยกน้ำเสียจึงสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้

1. น้ำเสียที่เป็นอินทรีย์สารซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเป็นน้ำเสียที่มาจาก อาคาร บ้านเรือน หรือโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร
2. น้ำเสียที่เป็นอนินทรีย์สารโดยส่วนใหญ่จะเป็นน้ำเสียที่มาจากกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม

 

ประโยชน์ที่ได้จากการติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียในโรงงาน


• à¸ªà¸²à¸¡à¸²à¸£à¸–ผลิตน้ำใช้ในพื้นที่ที่ขาดแคลนน้ำ ระบบบำบัดอากาศเสีย เช่น รีสอร์ทกลางทะเล สามารถเอาน้ำทะเลมาทำเป็นน้ำจืดใช้ได้
• à¸ªà¸²à¸¡à¸²à¸£à¸–นำน้ำกลับมาใช้ใหม่ด้วยหการรีไซเคิล โดยการใช้น้ำรดต้นไม้ ใช้ในห้องน้ำ หรือพัฒนาเป็นน้ำประปา
• à¸Šà¹ˆà¸§à¸¢à¸›à¸£à¸°à¸«à¸¢à¸±à¸”ค่าใช้น้ำประปา และประหยัดค่าบำบัดน้ำเสียได้น้ำที่มีคุณภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
• à¸ªà¸²à¸¡à¸²à¸£à¸–ดูแลรักษาควบคุมระบบได้ง่าย ประหยัดพื้นที่ในการก่อสร้างระบบประหยัดพลังงาน
• à¸£à¸°à¸šà¸šà¸šà¸³à¸šà¸±à¸”น้ำเสียโรงงานมความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ช่วยลดปัญหาน้ำเน่าเสียให้กับแหล่งน้ำและชุมชนรวมถึงเป็นตัวช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับองค์กรและหน่วยงาน


บริษัท เอเชี่ยนเทค อุตสาหกรรม จำกัด
       à¹€à¸›à¹‡à¸™à¸šà¸£à¸´à¸©à¸±à¸—ที่เชี่ยวชาญในเรื่องการกำจัดมลพิษทางอากาศ ไม่ว่าจะเป็น กลิ่น ควัน ไอความร้อน เศษวัสดุ และฝุ่นละอองทุกชนิด ฯลฯ ที่เป็นพิษต่อบุคลากรในองค์กรของท่าน เพื่อสร้างความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม และเพื่อสนับสนุนตามมาตรฐาน ISO 14000 ด้วย à¹€à¸›à¹‡à¸™à¸¨à¸¹à¸™à¸¢à¹Œà¸„วามรู้ในสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วางเป้าหมายสูงสุดด้วยการให้บริการที่มีคุณภาพ สามารถตอบสนองความต้องการ และสร้างความพึงพอใจให้เกิดกับลูกค้ามากที่สุด มีกระบวนการผลิตทุกขั้นตอนที่สามารถควบคุมคุณภาพได้ตามที่กำหนดเป็นบริษัทที่ผลิตสินค้าภายในประเทศ เพื่อสร้างงานที่มีคุณภาพสู่สากล และเพิ่มการจ้างแรงงานในประเทศ

 


       à¹€à¸­à¹€à¸Šà¸µà¹ˆà¸¢à¸™à¹€à¸—ค อุตสาหกรรมพัฒนางานสู่ระดับที่เป็นที่ยอมรับแก่บริษัทชั้นนำ ของประเทศ เพื่อลดการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศดำเนินการผลิตพัดลมอุตสาหกรรม Blower Propeller à¹à¸¥à¸°à¸—่อ Ductsงานจัดสร้างระบบบำบัดและกำจัดมลพิษ ในโรงงานอุตสาหกรรม ดังนี้ 

        • Dust Collector à¹€à¸„รื่องดักฝุ่นแบบผ้ากรอง
 • Ativated Carbon à¹€à¸„รื่องบำบัดกลิ่น
• Wet Scrubber à¹€à¸„รื่องบำบัดไอเคมี แบบสเปรย์น้ำ
 • Ventilation System à¸£à¸°à¸šà¸šà¸£à¸°à¸šà¸²à¸¢à¸­à¸²à¸à¸²à¸¨
 • Ducting System à¸£à¸°à¸šà¸šà¸—่อลมดูด
 • Air Intake System à¸£à¸°à¸šà¸šà¹€à¸•à¸´à¸¡à¸­à¸²à¸à¸²à¸¨


------------------------------------------------------
บทความที่เกี่ยวข้อง
ระบบบำบัดน้ำเสียมีประโยชน์อย่างไร
Wet Scrubber System มีกี่ชนิด
ระบบกำจัดฝุ่นในอากาศ (Dust Collector)

 

____________________________________________________

 

สนใจชมข้อมูลเพิ่มเติมผ่าน Marketplace

 

www.brandexdirectory.com
เว็บไซต์รวมสินค้าอุตสาหกรรมอันดับต้นๆ ของประเทศไทย

 

www.pagesthai.com
เว็บไซต์รวมรายชื่อโรงงานผลิต ซับคอนแทรค และบริการ

 

www.Brand.co.th
เว็บรวมสินค้าแบรนด์และผู้ผลิตสินค้าแบรนด์

 

www.eeczone.com
เว็บรวมรายชื่อผู้ประกอบการภาคตะวันออก

โซล่าฟาร์ม (Solar Farm) ตัวช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์

โซล่าฟาร์ม คืออะไร


         à¹‚ซล่าฟาร์ม (Solar Farm) à¸•à¸±à¸§à¸Šà¹ˆà¸§à¸¢à¸›à¸£à¸°à¸«à¸¢à¸±à¸”พลังงานไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์ หรือ โรงงานผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นนวัตกรรมใหม่ของยุคปัจจุบันโดยนำโซล่าเซลล์หลาย ๆ แผงเรียงต่อกันเพื่อทำการกักเก็บพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยโซล่าเซลล์ (Solar cell) à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¹‚ซล่าฟาร์มถูกออกแบบเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าระดับเมกะวัตต์ (MW) เพราะปัจจุบันทั่วโลกได้ให้ความสำคัญกับพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น โดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย์ที่เป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียนที่มีศักยภาพมาก เนื่องจากเป็นพลังงานสะอาด ไร้มลพิษ ใช้ได้ไม่มีวันหมดและช่วยประหยัดพลังงานเปลี่ยนรูปพลังงานเป็นเงินได้

 

โซล่าฟาร์ม

 

 

ประเภทของแผงโซล่าเซลล์ (Solar Cells) สามารถแบ่งได้เป็น 3 ชนิด ดังนี้

 

         1. แผงโซล่าเซลล์แบบโมโนคริสตัลไลน์ (Monocrystalline Solar Cells)


         à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹à¸œà¸‡à¹‚ซล่าเซลล์ (Solar cells) ชนิดที่ดีที่สุดในตลาด เพราะผลิตจากซิลิคอนที่มีความบริสุทธิ์สูง โดยใช้ซิลิคอนชิ้นเดียวในการผลิตเซลล์แต่ละชิ้นทำให้ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าสูงประมาณ 17-20% และมีอายุการใช้งานยาวนานที่สุด สามารถใช้ได้นานมากกว่า 25 ปี  à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸¥à¸±à¸à¸©à¸“ะของแผงแบบโมโนจะเป็นช่องสี่เหลี่ยมตัดมุมเรียงต่อกัน มองง่าย ๆ จะเห็นเป็นจุดขาว ๆ ตลอดทั้งแผง แต่ไม่นิยมนำมาใช้ติดตั้งโซล่าฟาร์มเนื่องจากมีราคาสูงและไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากนักเพราะต้องตัดซิลิคอนให้ได้รูปและจะมีซิลคอนที่เหลือทิ้งเป็นขยะ

 

         2. แผงโซล่าร์เซลล์แบบโพลีคริสตัลไลน์ (Polycrystalline Solar Cells)


         à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹à¸œà¸‡à¹‚ซล่าเซลล์ (Solar cells) ชนิดที่ดีรองลงมาจากตัวโมโนและสามารถทนความร้อนได้ดี นิยมนำมาใช้ติดตั้งเป็นโรงงานผลิตไฟฟ้าแสงอาทิตย์หรือโซล่าฟาร์ม โดยการผลิตแผงโพลีจะใช้ซิลิคอนอัดรวมทำให้ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าจะอยู่ที่ 15-19%  à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸¡à¸µà¸›à¸£à¸°à¸ªà¸´à¸—ธิภาพดีไม่ต่างกับแผงโมโนเท่าไร แถมยังมีราคาที่ถูกกว่า อายุการใช้งานประมาณ 20 ปี ซึ่งลักษณะของแผงจะเหมือนตารางสี่เหลี่ยม ไม่มีการตัดมุมเหมือนแผงโมโน

 

         3. แผงโซล่าร์เซลล์แบบอมอร์ฟัส (Amorphous Solar Cells)


         à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹à¸œà¸‡à¹‚ซล่าเซลล์ (Solar cells) ไม่ได้ใช้ซิลิคอนผลิต แต่เป็นการเคลือบสารที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็นไฟฟ้าได้ ไว้บนแผงผลิตจากแก้วหรือพลาสติก แผงจะมีลายเส้นตรงถี่ๆ เรียงต่อกัน ไม่ได้เป็นตาราง ซึ่งแผงแบบนี้จะมีราคาถูกที่สุด สามารถทำงานได้แม้อยู่ในที่แสงน้อย และประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าไม่สูง และมีอายุการใช้งานสั้นประมาณ 5 ปี จะนิยมมใช้กับเครื่องคิดเลข นาฬิกา

 

รับติดตั้งโซลล่าฟาร์ม

 

 

ระบบการติดตั้งระบบโซล่าเซลล์ มี 2 แบบ ดังนี้

 

1. โซล่าฟาร์มแบบยึดติดอยู่กับที่ (Fixed System) 


          เป็นการติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ที่มีตำแหน่งชัดเจน ตั้งอยู่กับที่โดยดูว่าพื้นที่บริเวณใดโดนแสงอาทิตย์นานสุดเพื่อที่จะได้รับพลังแสงพระอาทิตย์ ได้เยอะ ๆ และนำพลังงานไปใช้งานให้ได้ประสิทธิภาพมากที่สุด

ข้อดีของการใช้แผงโซล่าเซลล์แบบยึดติดกับที่
- ต้นทุนในการติดตั้งแผงโซล่าเซลล์จะต่ำกว่าแบบหมุนตามดวงอาทิตย์ และค่าดูแลรักษาก็จะถูกกว่า
ข้อเสียของการใช้แผงโซล่าเซลล์แบบยึดติดกับที่
- เวลารับแสงอาทิตย์มีจำกัด เนื่องจากดวงอาทิตย์เคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา ทำให้ได้รับแสงประมาณ 5-6 ชั่วโมงต่อวันและรับแสงได้เต็มที่ในช่วงเที่ยงเท่านั้น


2. โซล่าฟาร์มแบบหมุนตามดวงอาทิตย์ (Tracking System) 

          เป็นการติดตั้งโซล่าเซลล์ ที่สามารถรับแสงอาทิตย์ได้ดีกว่าแบบอยู่กับที่ประมาณ 20% เนื่องจากมีแขนกลทำหน้าที่หมุนแผงโซล่าเซลล์ ซึ่งจะควบคุมด้วยโปรแกรมเก็บข้อมูลความเข้มของรังสีดวงอาทิตย์ ที่เป็นตัวกำหนดให้แผงหมุนตามมองศาของแสงอาทิตย์ ทำให้ได้รับแสงอาทิตย์ตลอดทั้งวัน

          à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸à¸²à¸£à¸—ำโซล่าฟาร์มจำเป็นต้องใช้พื้นที่ค่อนข้างมากในการติดตั้งโซล่าเซลล์ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าให้เพียงพอต่อการใช้งานของสถานที่นั้นๆ สถานที่ติดตั้งควรจะเป็นที่โล่งแจ้ง ห้ามมีเงาหรือฝุ่นมาบังแผงโซล่าเซลล์ ควรวางแผงโซล่าเซลล์ให้เอียงประมาณ 10-15 องศา เพื่อรับแสงอาทิตย์ให้มากที่สุด

 


โซล่าเซลล์


          à¸”ังนั้นการติดตั้งระบบโซล่าฟาร์มด้วยแผงโซล่าเซลล์นั้น ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญในการออกแบบระบบ โดยทีมวิศวกร หรือช่างเทคนิคที่เชี่ยวชาญ อย่าง บริษัท สยาม-ซันนี่ โวลท์ จำกัด ให้บริการติดตั้งระบบโซล่าฟาร์ม (Solar farm) ติดตั้งระบบไฟฟ้าโรงงาน ระบบไฟฟ้า รับเหมาติดตั้งระบบไฟฟ้าโรงงาน ติดตั้งตู้คอนโทรล บริการออกแบบตู้คอนโทรล ในโรงงานอุตสาหกรรมและสำนักงานอาคารต่าง ๆ และมีบริการดูแลหลังการติดตั้งเป็นอย่างดีติดต่อสอบถามได้ เรายินดีให้ปรึกษาเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟ้าในโรงงานและสถานประกอบการ สนใจติดต่อสอบถามเพิ่มเติม คลิก

------------------------------------------------------------------------------------------

บทความที่เกี่ยวข้อง
ออกแบบ ติดตั้งระบบโซล่าร์ฟาร์ม งาน Solar farm
ข้อควรระวังในการติดตั้งระบบไฟฟ้า
ความปลอดภัยของการติดตั้งระบบไฟฟ้าโรงงานเป็นเรื่องที่สำคัญ 

 

____________________________________________________

 

สนใจชมข้อมูลเพิ่มเติมผ่าน Marketplace

 

www.brandexdirectory.com
เว็บไซต์รวมสินค้าอุตสาหกรรมอันดับต้นๆ ของประเทศไทย

 

www.pagesthai.com
เว็บไซต์รวมรายชื่อโรงงานผลิต ซับคอนแทรค และบริการ

 

www.Brand.co.th
เว็บรวมสินค้าแบรนด์และผู้ผลิตสินค้าแบรนด์

 

www.eeczone.com
เว็บรวมรายชื่อผู้ประกอบการภาคตะวันออก


 

โซล่าฟาร์ม (Solar Farm) ตัวช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์

โซล่าฟาร์ม คืออะไร


         à¹‚ซล่าฟาร์ม (Solar Farm) à¸•à¸±à¸§à¸Šà¹ˆà¸§à¸¢à¸›à¸£à¸°à¸«à¸¢à¸±à¸”พลังงานไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์ หรือ โรงงานผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นนวัตกรรมใหม่ของยุคปัจจุบันโดยนำโซล่าเซลล์หลาย ๆ แผงเรียงต่อกันเพื่อทำการกักเก็บพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยโซล่าเซลล์ (Solar cell) à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¹‚ซล่าฟาร์มถูกออกแบบเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าระดับเมกะวัตต์ (MW) เพราะปัจจุบันทั่วโลกได้ให้ความสำคัญกับพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น โดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย์ที่เป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียนที่มีศักยภาพมาก เนื่องจากเป็นพลังงานสะอาด ไร้มลพิษ ใช้ได้ไม่มีวันหมดและช่วยประหยัดพลังงานเปลี่ยนรูปพลังงานเป็นเงินได้

 

โซล่าฟาร์ม

 

 

ประเภทของแผงโซล่าเซลล์ (Solar Cells) สามารถแบ่งได้เป็น 3 ชนิด ดังนี้

 

         1. แผงโซล่าเซลล์แบบโมโนคริสตัลไลน์ (Monocrystalline Solar Cells)


         à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹à¸œà¸‡à¹‚ซล่าเซลล์ (Solar cells) ชนิดที่ดีที่สุดในตลาด เพราะผลิตจากซิลิคอนที่มีความบริสุทธิ์สูง โดยใช้ซิลิคอนชิ้นเดียวในการผลิตเซลล์แต่ละชิ้นทำให้ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าสูงประมาณ 17-20% และมีอายุการใช้งานยาวนานที่สุด สามารถใช้ได้นานมากกว่า 25 ปี  à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸¥à¸±à¸à¸©à¸“ะของแผงแบบโมโนจะเป็นช่องสี่เหลี่ยมตัดมุมเรียงต่อกัน มองง่าย ๆ จะเห็นเป็นจุดขาว ๆ ตลอดทั้งแผง แต่ไม่นิยมนำมาใช้ติดตั้งโซล่าฟาร์มเนื่องจากมีราคาสูงและไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากนักเพราะต้องตัดซิลิคอนให้ได้รูปและจะมีซิลคอนที่เหลือทิ้งเป็นขยะ

 

         2. แผงโซล่าร์เซลล์แบบโพลีคริสตัลไลน์ (Polycrystalline Solar Cells)


         à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹à¸œà¸‡à¹‚ซล่าเซลล์ (Solar cells) ชนิดที่ดีรองลงมาจากตัวโมโนและสามารถทนความร้อนได้ดี นิยมนำมาใช้ติดตั้งเป็นโรงงานผลิตไฟฟ้าแสงอาทิตย์หรือโซล่าฟาร์ม โดยการผลิตแผงโพลีจะใช้ซิลิคอนอัดรวมทำให้ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าจะอยู่ที่ 15-19%  à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸¡à¸µà¸›à¸£à¸°à¸ªà¸´à¸—ธิภาพดีไม่ต่างกับแผงโมโนเท่าไร แถมยังมีราคาที่ถูกกว่า อายุการใช้งานประมาณ 20 ปี ซึ่งลักษณะของแผงจะเหมือนตารางสี่เหลี่ยม ไม่มีการตัดมุมเหมือนแผงโมโน

 

         3. แผงโซล่าร์เซลล์แบบอมอร์ฟัส (Amorphous Solar Cells)


         à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹à¸œà¸‡à¹‚ซล่าเซลล์ (Solar cells) ไม่ได้ใช้ซิลิคอนผลิต แต่เป็นการเคลือบสารที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็นไฟฟ้าได้ ไว้บนแผงผลิตจากแก้วหรือพลาสติก แผงจะมีลายเส้นตรงถี่ๆ เรียงต่อกัน ไม่ได้เป็นตาราง ซึ่งแผงแบบนี้จะมีราคาถูกที่สุด สามารถทำงานได้แม้อยู่ในที่แสงน้อย และประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าไม่สูง และมีอายุการใช้งานสั้นประมาณ 5 ปี จะนิยมมใช้กับเครื่องคิดเลข นาฬิกา

 

รับติดตั้งโซลล่าฟาร์ม

 

 

ระบบการติดตั้งระบบโซล่าเซลล์ มี 2 แบบ ดังนี้

 

1. โซล่าฟาร์มแบบยึดติดอยู่กับที่ (Fixed System) 


          เป็นการติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ที่มีตำแหน่งชัดเจน ตั้งอยู่กับที่โดยดูว่าพื้นที่บริเวณใดโดนแสงอาทิตย์นานสุดเพื่อที่จะได้รับพลังแสงพระอาทิตย์ ได้เยอะ ๆ และนำพลังงานไปใช้งานให้ได้ประสิทธิภาพมากที่สุด

ข้อดีของการใช้แผงโซล่าเซลล์แบบยึดติดกับที่
- ต้นทุนในการติดตั้งแผงโซล่าเซลล์จะต่ำกว่าแบบหมุนตามดวงอาทิตย์ และค่าดูแลรักษาก็จะถูกกว่า
ข้อเสียของการใช้แผงโซล่าเซลล์แบบยึดติดกับที่
- เวลารับแสงอาทิตย์มีจำกัด เนื่องจากดวงอาทิตย์เคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา ทำให้ได้รับแสงประมาณ 5-6 ชั่วโมงต่อวันและรับแสงได้เต็มที่ในช่วงเที่ยงเท่านั้น


2. โซล่าฟาร์มแบบหมุนตามดวงอาทิตย์ (Tracking System) 

          เป็นการติดตั้งโซล่าเซลล์ ที่สามารถรับแสงอาทิตย์ได้ดีกว่าแบบอยู่กับที่ประมาณ 20% เนื่องจากมีแขนกลทำหน้าที่หมุนแผงโซล่าเซลล์ ซึ่งจะควบคุมด้วยโปรแกรมเก็บข้อมูลความเข้มของรังสีดวงอาทิตย์ ที่เป็นตัวกำหนดให้แผงหมุนตามมองศาของแสงอาทิตย์ ทำให้ได้รับแสงอาทิตย์ตลอดทั้งวัน

        ติดตั้งตู้ควบคุมไฟ   à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸à¸²à¸£à¸—ำโซล่าฟาร์มจำเป็นต้องใช้พื้นที่ค่อนข้างมากในการติดตั้งโซล่าเซลล์ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าให้เพียงพอต่อการใช้งานของสถานที่นั้นๆ สถานที่ติดตั้งควรจะเป็นที่โล่งแจ้ง ห้ามมีเงาหรือฝุ่นมาบังแผงโซล่าเซลล์ ควรวางแผงโซล่าเซลล์ให้เอียงประมาณ 10-15 องศา เพื่อรับแสงอาทิตย์ให้มากที่สุด

 


โซล่าเซลล์


          à¸”ังนั้นการติดตั้งระบบโซล่าฟาร์มด้วยแผงโซล่าเซลล์นั้น ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญในการออกแบบระบบ โดยทีมวิศวกร หรือช่างเทคนิคที่เชี่ยวชาญ อย่าง บริษัท สยาม-ซันนี่ โวลท์ จำกัด ให้บริการติดตั้งระบบโซล่าฟาร์ม (Solar farm) ระบบไฟฟ้า รับเหมาติดตั้งระบบไฟฟ้าโรงงาน ติดตั้งตู้คอนโทรล บริการออกแบบตู้คอนโทรล ในโรงงานอุตสาหกรรมและสำนักงานอาคารต่าง ๆ และมีบริการดูแลหลังการติดตั้งเป็นอย่างดีติดต่อสอบถามได้ เรายินดีให้ปรึกษาเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟ้าในโรงงานและสถานประกอบการ สนใจติดต่อสอบถามเพิ่มเติม คลิก

------------------------------------------------------------------------------------------

บทความที่เกี่ยวข้อง
ออกแบบ ติดตั้งระบบโซล่าร์ฟาร์ม งาน Solar farm
ข้อควรระวังในการติดตั้งระบบไฟฟ้า
ความปลอดภัยของการติดตั้งระบบไฟฟ้าโรงงานเป็นเรื่องที่สำคัญ 

 

____________________________________________________

 

สนใจชมข้อมูลเพิ่มเติมผ่าน Marketplace

 

www.brandexdirectory.com
เว็บไซต์รวมสินค้าอุตสาหกรรมอันดับต้นๆ ของประเทศไทย

 

www.pagesthai.com
เว็บไซต์รวมรายชื่อโรงงานผลิต ซับคอนแทรค และบริการ

 

www.Brand.co.th
เว็บรวมสินค้าแบรนด์และผู้ผลิตสินค้าแบรนด์

 

www.eeczone.com
เว็บรวมรายชื่อผู้ประกอบการภาคตะวันออก


 

โซล่าฟาร์ม (Solar Farm) ตัวช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์

โซล่าฟาร์ม คืออะไร


         à¹‚ซล่าฟาร์ม (Solar Farm) à¸•à¸±à¸§à¸Šà¹ˆà¸§à¸¢à¸›à¸£à¸°à¸«à¸¢à¸±à¸”พลังงานไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์ หรือ โรงงานผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นนวัตกรรมใหม่ของยุคปัจจุบันโดยนำโซล่าเซลล์หลาย ๆ แผงเรียงต่อกันเพื่อทำการกักเก็บพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยโซล่าเซลล์ (Solar cell) à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¹‚ซล่าฟาร์มถูกออกแบบเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าระดับเมกะวัตต์ (MW) เพราะปัจจุบันทั่วโลกได้ให้ความสำคัญกับพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น โดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย์ที่เป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียนที่มีศักยภาพมาก เนื่องจากเป็นพลังงานสะอาด ไร้มลพิษ ใช้ได้ไม่มีวันหมดและช่วยประหยัดพลังงานเปลี่ยนรูปพลังงานเป็นเงินได้

 

โซล่าฟาร์ม

 

 

ประเภทของแผงโซล่าเซลล์ (Solar Cells) สามารถแบ่งได้เป็น 3 ชนิด ดังนี้

 

         1. แผงโซล่าเซลล์แบบโมโนคริสตัลไลน์ (Monocrystalline Solar Cells)


         à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹à¸œà¸‡à¹‚ซล่าเซลล์ (Solar cells) ชนิดที่ดีที่สุดในตลาด เพราะผลิตจากซิลิคอนที่มีความบริสุทธิ์สูง โดยใช้ซิลิคอนชิ้นเดียวในการผลิตเซลล์แต่ละชิ้นทำให้ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าสูงประมาณ 17-20% และมีอายุการใช้งานยาวนานที่สุด สามารถใช้ได้นานมากกว่า 25 ปี  à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸¥à¸±à¸à¸©à¸“ะของแผงแบบโมโนจะเป็นช่องสี่เหลี่ยมตัดมุมเรียงต่อกัน มองง่าย ๆ จะเห็นเป็นจุดขาว ๆ ตลอดทั้งแผง แต่ไม่นิยมนำมาใช้ติดตั้งโซล่าฟาร์มเนื่องจากมีราคาสูงและไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากนักเพราะต้องตัดซิลิคอนให้ได้รูปและจะมีซิลคอนที่เหลือทิ้งเป็นขยะ

 

         2. แผงโซล่าร์เซลล์แบบโพลีคริสตัลไลน์ (Polycrystalline Solar Cells)


         à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹à¸œà¸‡à¹‚ซล่าเซลล์ (Solar cells) ชนิดที่ดีรองลงมาจากตัวโมโนและสามารถทนความร้อนได้ดี นิยมนำมาใช้ติดตั้งเป็นโรงงานผลิตไฟฟ้าแสงอาทิตย์หรือโซล่าฟาร์ม โดยการผลิตแผงโพลีจะใช้ซิลิคอนอัดรวมทำให้ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าจะอยู่ที่ 15-19%  à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸¡à¸µà¸›à¸£à¸°à¸ªà¸´à¸—ธิภาพดีไม่ต่างกับแผงโมโนเท่าไร แถมยังมีราคาที่ถูกกว่า อายุการใช้งานประมาณ 20 ปี ซึ่งลักษณะของแผงจะเหมือนตารางสี่เหลี่ยม ไม่มีการตัดมุมเหมือนแผงโมโน

 

         3. แผงโซล่าร์เซลล์แบบอมอร์ฟัส (Amorphous Solar Cells)


         à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹à¸œà¸‡à¹‚ซล่าเซลล์ (Solar cells) ไม่ได้ใช้ซิลิคอนผลิต แต่เป็นการเคลือบสารที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็นไฟฟ้าได้ ไว้บนแผงผลิตจากแก้วหรือพลาสติก แผงจะมีลายเส้นตรงถี่ๆ เรียงต่อกัน ไม่ได้เป็นตาราง ซึ่งแผงแบบนี้จะมีราคาถูกที่สุด สามารถทำงานได้แม้อยู่ในที่แสงน้อย และประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าไม่สูง และมีอายุการใช้งานสั้นประมาณ 5 ปี จะนิยมมใช้กับเครื่องคิดเลข นาฬิกา

 

รับติดตั้งโซลล่าฟาร์ม

 

 

ระบบการติดตั้งระบบโซล่าเซลล์ มี 2 แบบ ดังนี้

 

1. โซล่าฟาร์มแบบยึดติดอยู่กับที่ (Fixed System) 


          เป็นการติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ที่มีตำแหน่งชัดเจน ตั้งอยู่กับที่โดยดูว่าพื้นที่บริเวณใดโดนแสงอาทิตย์นานสุดเพื่อที่จะได้รับพลังแสงพระอาทิตย์ ได้เยอะ ๆ และนำพลังงานไปใช้งานให้ได้ประสิทธิภาพมากที่สุด

ข้อดีของการใช้แผงโซล่าเซลล์แบบยึดติดกับที่
- ต้นทุนในการติดตั้งแผงโซล่าเซลล์จะต่ำกว่าแบบหมุนตามดวงอาทิตย์ และค่าดูแลรักษาก็จะถูกกว่า
ข้อเสียของการใช้แผงโซล่าเซลล์แบบยึดติดกับที่
- เวลารับแสงอาทิตย์มีจำกัด เนื่องจากดวงอาทิตย์เคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา ทำให้ได้รับแสงประมาณ 5-6 ชั่วโมงต่อวันและรับแสงได้เต็มที่ในช่วงเที่ยงเท่านั้น


2. โซล่าฟาร์มแบบหมุนตามดวงอาทิตย์ (Tracking System) 

          เป็นการติดตั้งโซล่าเซลล์ ที่สามารถรับแสงอาทิตย์ได้ดีกว่าแบบอยู่กับที่ประมาณ 20% เนื่องจากมีแขนกลทำหน้าที่หมุนแผงโซล่าเซลล์ ซึ่งจะควบคุมด้วยโปรแกรมเก็บข้อมูลความเข้มของรังสีดวงอาทิตย์ ที่เป็นตัวกำหนดให้แผงหมุนตามมองศาของแสงอาทิตย์ ทำให้ได้รับแสงอาทิตย์ตลอดทั้งวัน

          à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸à¸²à¸£à¸—ำโซล่าฟาร์มจำเป็นต้องใช้พื้นที่ค่อนข้างมากในการติดตั้งโซล่าเซลล์ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าให้เพียงพอต่อการใช้งานของสถานที่นั้นๆ สถานที่ติดตั้งควรจะเป็นที่โล่งแจ้ง ห้ามมีเงาหรือฝุ่นมาบังแผงโซล่าเซลล์ ควรวางแผงโซล่าเซลล์ให้เอียงประมาณ 10-15 องศา เพื่อรับแสงอาทิตย์ให้มากที่สุด

 


โซล่าเซลล์


    รับทำตู้สวิทช์บอร์ด       à¸”ังนั้นการติดตั้งระบบโซล่าฟาร์มด้วยแผงโซล่าเซลล์นั้น ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญในการออกแบบระบบ โดยทีมวิศวกร หรือช่างเทคนิคที่เชี่ยวชาญ อย่าง บริษัท สยาม-ซันนี่ โวลท์ จำกัด ให้บริการติดตั้งระบบโซล่าฟาร์ม (Solar farm) ระบบไฟฟ้า รับเหมาติดตั้งระบบไฟฟ้าโรงงาน ติดตั้งตู้คอนโทรล บริการออกแบบตู้คอนโทรล ในโรงงานอุตสาหกรรมและสำนักงานอาคารต่าง ๆ และมีบริการดูแลหลังการติดตั้งเป็นอย่างดีติดต่อสอบถามได้ เรายินดีให้ปรึกษาเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟ้าในโรงงานและสถานประกอบการ สนใจติดต่อสอบถามเพิ่มเติม คลิก

------------------------------------------------------------------------------------------

บทความที่เกี่ยวข้อง
ออกแบบ ติดตั้งระบบโซล่าร์ฟาร์ม งาน Solar farm
ข้อควรระวังในการติดตั้งระบบไฟฟ้า
ความปลอดภัยของการติดตั้งระบบไฟฟ้าโรงงานเป็นเรื่องที่สำคัญ 

 

____________________________________________________

 

สนใจชมข้อมูลเพิ่มเติมผ่าน Marketplace

 

www.brandexdirectory.com
เว็บไซต์รวมสินค้าอุตสาหกรรมอันดับต้นๆ ของประเทศไทย

 

www.pagesthai.com
เว็บไซต์รวมรายชื่อโรงงานผลิต ซับคอนแทรค และบริการ

 

www.Brand.co.th
เว็บรวมสินค้าแบรนด์และผู้ผลิตสินค้าแบรนด์

 

www.eeczone.com
เว็บรวมรายชื่อผู้ประกอบการภาคตะวันออก


 

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15